แสดงเวอร์ชันเต็ม : ถามเรื่องตู้ลำโพงหน่อยครับ
พอดีรถผมเป็น plus 4 ประตู อยากจะติดซับสัก 10" 1ตัวไม่เน้นเสียงดังเอาแค่ฟังในรถ เสียงนุ่ม ๆ เบสลึก หน่อยก็พอ แต่ผมไม่ชอบตู้ซับแบบ ปิด และ เปิด ผมอยากได้ตู้แบบ แบนพาส ไว้หลังเบาะเน้นคือให้รถอยู่ในสภาพเดิม ก็เลยนั่งคิดแล้วร่างแบบออกมาก็ได้ประมาณภาพนี่แหละครับ
อยากถามผู้รู้หน่อย :21-7: ว่าเสียงที่ออกมาจะดีมั้ยเสียงเบสที่ได้พอฟังได้รึปล่าว และที่สำคัญสูตรการทำตู้นี้ไม่รู้เลย:i41: กะว่าจะเอาขาดยาวนิดนึงของห้องโดยสาร พื้นที่ที่เหลือก็เป็นที่เก็บของเหมือนเดิม ไม่ทราบว่าเป็นยังไงบ้างครับ
ช่วยแนะนำด้วยครับ..
พลัสเหมือนกันตอนนี้ใส่ตู้ธรรมดาอยู่ มารอข้อมูลความแน่นคร้าบบ......:i37::kapook-17195-8823:
ถ้าน้าถามว่าเสียงที่ออกมาจะดีมั๊ย
ตอบได้เลยว่า ถ้าตอนนี้น้าทำตู้เสร็จแล้ว น้าจะต้องเลือกใช้ซับที่แม็ตกับปริมาตรของตู้ เพราะซับแต่ละตัว แต่ละยี่ห้อ ต้องการปริมาตรตู้ไม่เท่ากันครับ เวลาเลือกซื้อซับน้าก็ดูสเปคของดอกซับว่าใช้ปริมาตรตู้เท่าไหร่
สมมุติ น้าตีตู้เสร็จแล้ววัดปริมาตรได้ = 1.5 Q
น้าก็ควรเลือกซับที่แสดงประสิทธิภาพเต็มที่ที่ปริมาตรตู้1.5q +-ไม่ควรเกิน0.5
ผิดถูกอย่างไรผู้รู้จริงช่วยเพิ่มเติมด้วยนะครับ
samarn kakaew
15-12-2010, 20:49
น่าจะได้นะครับ แต่รูพอทจะต้องเป็นสี่เหลี่ยมนะ เคยทำในวีโก้ ถ้าจำไม่ผิดขนาดรูกว้าง 2.2 นิ้วยาว 8 นิ้ว ลึก 7.5 นิ้ว ใช้ซัพ M ส้มครับกินปริมาตรน้อย:smiley-music009:
ถ้าน้าถามว่าเสียงที่ออกมาจะดีมั๊ย
ตอบได้เลยว่า ถ้าตอนนี้น้าทำตู้เสร็จแล้ว น้าจะต้องเลือกใช้ซับที่แม็ตกับปริมาตรของตู้ เพราะซับแต่ละตัว แต่ละยี่ห้อ ต้องการปริมาตรตู้ไม่เท่ากันครับ เวลาเลือกซื้อซับน้าก็ดูสเปคของดอกซับว่าใช้ปริมาตรตู้เท่าไหร่
สมมุติ น้าตีตู้เสร็จแล้ววัดปริมาตรได้ = 1.5 Q
น้าก็ควรเลือกซับที่แสดงประสิทธิภาพเต็มที่ที่ปริมาตรตู้1.5q +-ไม่ควรเกิน0.5
ผิดถูกอย่างไรผู้รู้จริงช่วยเพิ่มเติมด้วยนะครับ
ขอบคุณมากเลยครับสำหรับคำแนะนำ ถามต่อเลยนถครับอย่าที่ผมบอกไว้แล้วว่าไม่รู้เรื่องสูตรคำนวณตู้เลย ที่น้าว่า "สมมุติ น้าตีตู้เสร็จแล้ววัดปริมาตรได้ = 1.5 Q" เราวัดกันยังไงครับ:kapook-17197-2309: แล้ววัดในส่วนที่เป็นตู้ปิด หรือว่าเปิดครับ แล้วสูตรวันเป็นอย่างไร พอจะอธิบายให้ผมหน่อยได้มั้ยครับ..
thitot_inkman@sanook.com
16-12-2010, 11:38
:kapook-17335-3382::p
thitot_inkman@sanook.com
16-12-2010, 11:40
ขอบคุณมากเลยครับสำหรับคำแนะนำ ถามต่อเลยนถครับอย่าที่ผมบอกไว้แล้วว่าไม่รู้เรื่องสูตรคำนวณตู้เลย ที่น้าว่า "สมมุติ น้าตีตู้เสร็จแล้ววัดปริมาตรได้ = 1.5 Q" เราวัดกันยังไงครับ:kapook-17197-2309: แล้ววัดในส่วนที่เป็นตู้ปิด หรือว่าเปิดครับ แล้วสูตรวันเป็นอย่างไร พอจะอธิบายให้ผมหน่อยได้มั้ยครับ..
วัสดุต่างๆ และการคำนวณปริมาตร
ตู้ซับวูเฟอร์ (ENCLOSURE) เป็นปัจจัยสำคัญที่อยู่คู่กับซับวูเฟอร์ และเสียงเบสส์ โดยเฉพาะในรถยนต์ การตีตู้ยังคงได้รับความนิยมอยู่ แม้ว่าผู้ที่ชื่นชอบเครื่องเสียงหลายๆ คน ไม่ต้องการให้เสียเนื้อที่ในรถก็ตาม ซึ่งในจุดนี้มีตู้สูตรสำเร็จแบบต่างๆ มาเพิ่ม เสียงเบสส์ให้กับระบบในรถแทน
ประเภท
ตู้สูตรซับวูเฟอร์ แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ ตู้ปิด ตู้เปิด และตู้แบนด์พาสส์ ซึ่งในแต่ละประเภทยังแยกย่อยออกไปอีก ทั้งนี้เพื่อให้เหมาะสมกับซับวูเฟอร์ และลักษณะ การทำงานที่ต่างกัน เพื่อให้ได้เสียงเบสส์ตามต้องการ ไม่ว่าจะเน้นความดัง นุ่มนวล หรือเค้นความถี่เสียงเบสส์ในช่วงต่างๆ
ตู้ปิด (SEALED) เป็นตู้ประเภทที่ไม่มีช่องสำหรับอากาศเข้า/ออก ติดซับวูเฟอร์ที่ผนังตู้ ด้านนอก ไม่จำกัดว่าจะหันดอกซับเข้าหรือออก จำนวนดอกซับ และการออกแบบภายในตู้ การคำนวณปริมาตรตู้จะคิดเฉพาะภายในตู้ เป็นตู้ที่ได้รับความนิยม การออกแบบ และสร้างขึ้นจะง่าย มีขนาดไม่ใหญ่มาก ลักษณะของเสียงเบสส์จะเป็นลูก มีเนื้อหาครบ
ตู้เปิด (PORTED) เป็นตู้ประเภทที่มีช่องอากาศสำหรับเข้า/ออกระหว่างผนังตู้ โดยส่วนมากจะใช้ท่อสำหรับทำช่อง ดอกซับจะติดตั้งที่ผนังตู้ด้านนอก ไม่จำกัดว่าจะหัน ดอกซับเข้าหรือออก จำนวนดอกซับ และการออกแบบภายในตู้ การคำนวณนอกจาก ปริมาตรภายในตู้แล้ว ยังต้องคำนวณรัศมี และความยาวของท่อร่วมด้วย เป็นตู้ที่ต้อง ออกแบบตามสูตร หรือคู่มือของซับวูเฟอร์ ได้รับความนิยมในนักเล่นเครื่องเสียงที่ต้องการ ตีแผงซาวน์ดโชว์ ส่วนมากมีขนาดใหญ่กว่าตู้ปิด ลักษณะของเสียงเบสส์เค้นความนุ่มลึก และหนักหน่วงได้มากขึ้น
ตู้แบนด์พาสส์ (BAND PASS) เป็นตู้ประเภทที่ออกแบบติดตั้งซับวูเฟอร์ไว้ภายใน โดยติดตั้งกับผนังตู้ด้านในที่กั้นระหว่างกัน ภายในตู้จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ไม่จำกัดการ ติดตั้งดอกซับ จำนวน และการออกแบบ มีช่องอากาศสำหรับเข้า/ออกระหว่างผนังตู้ ด้านนอก การคำนวณปริมาตรตู้ จะต้องคำนวณทั้ง 2 ส่วน และคำนวณรัศมี และความยาว ของท่อร่วมด้วย เป็นตู้ที่ต้องออกแบบตามสูตร หรือคู่มือของซับวูเฟอร์ จะได้รับความนิยม กับนักเล่นเครื่องเสียงที่ต้องการตีแผงซาวน์ดโชว์ มีขนาดใหญ่ ให้เสียงเบสส์นุ่มลึก สามารถออกแบบให้เน้นช่วงความถี่เสียงเบสส์ที่ต้องการได้
นอกจากนั้นแล้ว ตู้ที่มีท่อ สามารถเว้นช่องสำหรับอากาศไหลเข้า/ออกแทนท่อได้ ซึ่งจะเรียกว่าตู้เปิด (VENTED) จะให้ลักษณะของเสียงเบสส์ที่แตกต่างไปจากตู้เปิด (PORTED)
วัสดุต่างๆ
การทำตู้ซับวูเฟอร์ เดิมทีจะใช้เฉพาะไม้ ซึ่งไม่จำกัด แต่มาในระยะหลัง จะมีไม้อัดที่ทำ ออกมาเฉพาะ และนิยมนำมาทำตู้ซับวูเฟอร์ภายในรถ คือไม้ MDF (MEDIUM DENSITY FIBERBOARD) มีความหนา 3/4" ความกว้างxยาว เท่ากับไม้อัดทั่วไป ข้อดีคือ ให้เสียงเบสส์นุ่มลึก มีเนื้อหา ราคาไม่สูงมาก การนำมาทำตู้สะดวกและง่าย ข้อเสียคือ การออกแบบให้เข้ารูป และโค้งมนจะทำได้ยาก
แผ่น PLEXIGLASS วัสดุใสเหมือนพลาสติค และแผ่นอครีลิคใส เป็นวัสดุอีกประเภท ที่นิยมนำมาทำผนังตู้ โดยเฉพาะตู้เปิด และแบนด์พาสส์ ข้อดีคือ นอกจากจะเค้นเสียงเบสส์ ได้แล้ว ยังได้ความสวยงาม ข้อเสียคือ การออกแบบให้เข้ารูป โค้งมน จะทำได้ยาก
FRP หรือ GRP (FIBER GLASS REINFORCED PLASTICS) ที่เราเรียกกันว่า ไฟเบอร์ หรือไฟเบอร์กลาสส์นั่นเอง เป็นวัสดุที่กำลังได้รับความนิยม โดยเฉพาะตู้สูตรสำเร็จ เป็นส่วนผสมระหว่างใยแก้ว (FIBER GLASS) ที่มีลักษณะนุ่มเหนียว กับสารเคมีประเภท POLYESTER RESIN หรือ EPOXY RESIN และตัวเร่งปฏิกริยา ACCELETATOR และตัวทำให้แข็ง CATALYST ซึ่งเป็นสารเคมีมีให้เลือกหลายชนิด ข้อดีคือ ขึ้นรูปได้ หลากหลายตามต้องการ ไม่จำกัดรูปแบบ มีความแข็งแรงทนทาน และทำสีให้สวยงามได้ ข้อเสียคือ ขั้นตอนการทำยุ่งยาก ต้องระมัดระวังสารเคมี
โลหะ เช่น แผ่นเหล็ก อลูมิเนียม สำหรับเดโมคาร์หลายๆ คัน เน้นรูปแบบความแตกต่าง ด้วยงานโลหะ อาทิ การนำแผ่นเหล็กปูพื้นโรงงานที่มีลายนูนกันลื่น หรือแผ่นอลูมิเนียม หรือโลหะชุบโครเมียมมันวาวมาตกแต่ง และร่วมออกแบบเป็นผนังตู้ ข้อดีคือ แข็งแรง สวยงามโดดเด่นแปลกตา ข้อเสียคือ มีน้ำหนักมาก การทำยุ่งยาก และอาจเป็นสนิม
เครื่องมือ/อุปกรณ์
ในการทำตู้ซับวูเฟอร์ ต้องมีเครื่องมือเฉพาะ ขึ้นอยู่กับประเภทของวัสดุ เช่น งานไม้ก็ต้อง เลือกเครื่องมือสำหรับไม้ งานโลหะต้องเลือกเครื่องมือสำหรับโลหะ หลักๆ จะมี เลื่อยวงเดือน หรือโต๊ะเลื่อย สำหรับตัดชิ้นงานให้ตรง และได้มุมตามต้องการ เลื่อยจิกซอว์สำหรับตัดชิ้นงานในแนวโค้ง หรือวงกลม นอกจากนั้นก็มี สว่านไฟฟ้าสำหรับเจาะชิ้นงาน ไขควงไฟฟ้า ไม้บรรทัด วงเวียน ดินสอ ถ้าเป็นชิ้นงานที่ต้องทำแบบก่อน จะต้องมี กระดาษแข็ง เทป คัทเตอร์ และกรรไกร เพิ่มเติม
วัสดุ และอุปกรณ์ประกอบตู้ ซึ่งจะเป็นขั้นตอนหลังจากที่ได้ชิ้นงานที่จะนำมาประกอบครบ ทุกชิ้นแล้ว ประกอบด้วย กาวติดไม้ นอท ปืนกาว กาวยาง ขั้วต่อสาย สายลำโพง กรณีที่เป็น ตู้เปิด และแบนด์พาสส์ ต้องเตรียมท่อพีวีซี ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวตามสเปค
อุปกรณ์ตกแต่ง จะใช้ในขั้นตอนหลังจากที่ประกอบตู้ซับเสร็จแล้ว อาทิ พรม ไวนิล หนัง หรือสีพ่นชิ้นงาน ขึ้นอยู่กับความกลมกลืน หรือโดดเด่นสวยงาม นอกจากนั้นยังมีหัวนอท หลอดไฟเพื่อความสวยงามขณะขับเล่น ขึ้นอยู่กับความชอบครับ
และสิ่งสำคัญที่ขาดไม่ได้ คือ อุปกรณ์เสริมเสียง หรือใยแก้ว ซึ่งจะช่วยให้เสียงเบสส์มีเนื้อหา เป็นลูก มีความนุ่มนวลมากขึ้น ไม่แข็งกระด้าง หรือโปร่ง แต่ในกรณีที่เน้นความสวยงาม กับตู้เปิด หรือแบนด์พาสส์ที่ใช้ผนังใส อาจจะไม่เห็นวัสดุซับเสียงนี้ ซึ่งต้องคำนวณตู้ โดยเฉพาะ และปรับทูนเสียงเบสส์ให้ลงตัว
การออกแบบ
ในการออกแบบตู้ซับ ถ้าเป็นตู้แบบสี่เหลี่ยมทั่วไป สามารถวัดขนาด และสร้างชิ้นงานได้เลย แต่ถ้าเป็นตู้เข้ามุม ควรทำแบบด้วยกระดาษแข็งก่อน แล้วลองนำไปติดตั้งในตำแหน่ง ที่ต้องการว่าพอดีหรือเปล่า เพราะหากประกอบขึ้นแล้ว อาจแก้ไขได้ยาก
สิ่งที่ต้องคำนึงถึง คือ ซับวูเฟอร์ที่มีอยู่ ซึ่งส่วนมากจะให้สเปคในการตีตู้มาให้ด้วย โดยจะ กำหนดปริมาตร ขนาดท่อ และระดับความดังที่เค้นได้ DB ตรงส่วนนี้คุณจะได้ปริมาตรตู้ แต่ละประเภทรัศมี และความยาวของท่อ สำหรับตัวซับวูเฟอร์ จะได้เส้นผ่าศูนย์กลาง ขอบด้านใน และความลึก ซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่จะนำมาออกแบบ
จากนั้นให้กำหนดประเภทของตู้ที่ต้องการ โดยเน้นถึงคุณภาพเสียง และความลงตัว เป็นสำคัญ นั่นหมายถึง สภาพห้องโดยสาร ตำแหน่ง และพื้นที่การติดตั้ง รวมถึงทิศทาง ของหน้าดอกซับ ว่าจะกำหนดให้หันไปทางไหน เมื่อนำทุกอย่างมาพิจารณาร่วมกัน ก็จะได้ตู้ซับที่เหมาะสมกับระบบในรถคันนั้น ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว
การคำนวณปริมาตร
ตู้ซับวูเฟอร์ที่ได้รับความนิยมและตีง่าย เป็นรูปทรงสี่เหลี่ยม ซึ่งมีสูตรการคำนวณปริมาตร ไม่ยาก นอกจากนั้นยังมีตู้ซับในทรงเรขาคณิตอื่นๆ ซึ่งมีสูตรการคำนวณแตกต่างกันไป ดังนี้
B1 ปริมาตรสี่เหลี่ยม (RECTANGLE) = กว้างxสูงxลึก
B2 ปริมาตรสามเหลี่ยม (TRIANGLE) = 0.5xสูงxกว้างxลึก B3 ปริมาตรท่อ (CYLINDER) = 3.14xรัศมีxรัศมีxความลึก
B4 ปริมาตรสี่เหลี่ยมคางหมู (WEDGE) = ความกว้างด้านบน+ด้านล่าง/2xสูงxลึก
ส่วนตู้ที่มีรูปทรงอิสระ การคำนวณค่อนข้างจะยาก ซึ่งหากวัด และคำนวณอย่างละเอียด หรือใช้การแทนที่ ก็ยังได้ปริมาตรไม่แน่นอน การแก้ไขสามารถทำได้ โดยการใส่ใยแก้ว มากเป็นพิเศษ ซับวูเฟอร์ก็จะทำงานได้ดีขึ้น แต่ไม่แนะนำกับตู้ที่คำนวณปริมาตรได้
สำหรับการคำนวณอย่างละเอียด จะต้องตัดความหนาของไม้ออกด้วย โดยไม้ MDF จะมีความหนา 3/4" เมื่อหักทั้ง 2 ด้าน จะเท่ากับ 1 1/2" ยกตัวอย่างตู้ปริมาตร 1.0 ลูกบาศก์ฟุต ไม้มีความยาวด้านละ 12" เมื่อตีตู้ขึ้นไม้จะซ้อนกัน 2 ด้าน ทำให้เสีย ความยาวไป 1 1/2" คุณจะได้ปริมาตรตู้เพียง 12"x12"x(12"-1 1/2") ประมาณ 0.96 ลูกบาศก์ฟุต
อีกเรื่องที่สำคัญคือ การเปลี่ยนค่า หรือแทนค่าตัวเลข โดยปริมาตร 1.0 ลูกบาศก์ฟุต = 12"x12"x12" = 1,728 ลูกบาศก์นิ้ว หรือ 30x30x30 ซม. = 27,000 ลูกบาศก์ซม. ดังนั้นเมื่อคุณออกแบบตู้ และคำนวณได้ความยาวของผนังแต่ละด้าน การหาปริมาตรตู้ ว่ากี่ลูกบาศก์ฟุต ทำได้โดยการนำค่าตัวเลขทั้ง 2 หน่วยมาหาร โดยต้องเป็นหน่วยเดียวกัน เช่น ผนังตู้ 5"x9"x12" จะได้ปริมาตร 540 ลูกบาศก์นิ้ว ก็จะเท่ากับ 540/1,728 = 0.31 ลูกบาศก์ฟุต ผนังตู้ 15x20x25 ซม. จะได้ปริมาตร 7,500 ลูกบาศก์ซม. ก็จะเท่ากับ 7,500/27,000 = 0.28 ลูกบาศก์ฟุต
สร้างชิ้นงานด้วยตัวเอง
การตีตู้ด้วยตัวเอง ผมแนะนำให้เริ่มจากการตีตู้ปิดทรงสี่เหลี่ยมธรรมดา เพราะทำง่าย และการคำนวณไม่ยาก ขั้นแรกคือ การออกแบบ โดยต้องคำนึงถึงขนาดของซับวูเฟอร์ หลังจากปริมาตรที่ต้องการ ให้วัดค่าเส้นผ่าศูนย์กลางของขอบซับด้านใน ซึ่งเป็นส่วนที่ ต้องวางบนผนังตู้ และยึดนอท ควรให้ความยาวของผนังด้านนี้ *งจากขอบซับด้านนอก อย่างน้อยด้านละ 1" จากนั้นให้วัดความลึก จากขอบด้านบนสุดถึงท้ายแม่เหล็ก และผนังตู้ ด้านล่างควร*งจากท้ายแม่เหล็กอย่างน้อย 2" จากนั้นให้หาตำแหน่งติดตั้ง ซึ่งหากไม่ เข้ามุมก็ตีเป็นตู้สี่เหลี่ยมธรรมดาได้เลย แต่ถ้าเข้ามุมจะต้องตีเป็นตู้ทรงสี่เหลี่ยมคางหมู สำหรับการวางหน้าซับ จะหันไปทางไหนก็ได้ไม่จำกัด ที่สำคัญไม่ควรหันไปทางมุมอับ หรือทำให้กรวย และเซอร์ราวน์ดเสียหาย
เมื่อคุณได้ปริมาตร และความยาวของไม้แต่ละด้าน ก็ลงมือเลื่อยได้เลย ตอนนี้ต้องเริ่มระวัง เรื่องอุบัติเหตุ ! โดยการเลื่อยไม้ตรงๆ ยาวๆ ควรใช้เลื่อยวงเดือน หรือโต๊ะเลื่อย จะตรง และเข้ามุมได้พอดี แต่ไม่มีจริงๆ ใช้เลื่อยจิกซอว์ก็ไม่ว่ากัน ส่วนด้านที่ใส่ซับให้ตัดด้วย เลื่อยจิกซอว์ ดังนั้นคุณจะได้ชิ้นงาน 6 แผ่น ด้านล่าง 1 แผ่น ด้านบนที่เจาะช่องวงกลม 1 แผ่น และด้านข้างอีก 4 แผ่น
การประกอบตู้ให้ทากาวติดไม้ หรือกาวลาเทกซ์ที่หน้าไม้ก่อน จากนั้นยึดด้วยนอทที่มี ความยาวกินเข้าไปในไม้อีกแผ่นไม่ต่ำกว่า 1/2" อย่างน้อย 3 ตัว ให้ระวังไม่ฉีกแตก หรือหากมีเครื่องยิงตะปูก็ใช้ได้เพื่อความสะดวก แต่ควรยึดนอทอีกด้านละ 2 ตัว จากนั้น ให้ยาแนวทั้งหมดด้วยปืนกาว หรือจะใช้ขี้เลื่อยผสมกาวลาเทกซ์ก็ได้ รวมถึงอุดรอยรั่ว และแนวที่ไม่เสมอกัน ทั้งด้านในและด้านนอก หากคุณจะใส่ขั้วลำโพง ให้เจาะไม้ใน ขั้นตอนนี้ได้เลย
ต่อไปเป็นการตกแต่ง เตรียมวัสดุที่ต้องการหุ้ม ตัดขนาดตามความยาวของผนังตู้ โดยจะหุ้ม จากขอบท้ายตู้ก่อน ทากาวยางที่ผนังตู้ และชิ้นงาน รอให้แห้งหมาดๆ จากนั้น หุ้มและดึง ให้ตึง ใช้ไม้แบนๆ ตบไล่ ให้ทากาวหุ้มไปจนครบ 4 ด้าน คลุมช่องซับไปเลย ก็จะมาชนกับ ขอบเดิม ปล่อยชายทิ้งไว้ จากนั้นใช้คัทเตอร์ตัดและใช้ไม้ตบให้เนียนเป็นเนื้อเดียวกัน สำหรับช่องซับให้ใช้คัทเตอร์ตัดเช่นกัน ทากาวหุ้มอีก 2 ด้านที่เหลือ โดยปล่อยชายเอา คัทเตอร์ตัด และใช้ไม้ตบให้เนียนเข้ากัน ในกรณีเป็นหนังหรือไวนิล ควรใช้ลูกกลิ้งแทนไม้
ต่อจากนั้นให้นำซับมาวาง และใช้สว่านไฟฟ้าเจาะรูใส่นอท หากไม่ใส่ขั้วลำโพงให้หา ตำแหน่งเจาะช่องร้อยสายในขั้นตอนนี้ จากนั้นจึงเดินสายลำโพง อัดใยแก้วประมาณ 50-80 % และใส่ซับยึดนอทได้ นำตู้ซับไปวางในตำแหน่งที่ต้องการ และปรับทูนเสียงเบสส์ ตามต้องการ
สรุป
การออกแบบตู้ซับเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน แต่การทำตู้เองก็เป็นเรื่องที่สนุก ที่สำคัญจะต้อง ได้เสียงเบสส์ที่กลมกลืนสมจริง และติดตั้งในรถได้อย่างลงตัว สำหรับนักเล่นที่อยากลอง ตีตู้เอง ผมเอาใจช่วยให้ได้เสียงเบสส์ตามต้องการครับ
วัสดุต่างๆ และการคำนวณปริมาตร
ตู้ซับวูเฟอร์ (ENCLOSURE) เป็นปัจจัยสำคัญที่อยู่คู่กับซับวูเฟอร์ และเสียงเบสส์ โดยเฉพาะในรถยนต์ การตีตู้ยังคงได้รับความนิยมอยู่ แม้ว่าผู้ที่ชื่นชอบเครื่องเสียงหลายๆ คน ไม่ต้องการให้เสียเนื้อที่ในรถก็ตาม ซึ่งในจุดนี้มีตู้สูตรสำเร็จแบบต่างๆ มาเพิ่ม เสียงเบสส์ให้กับระบบในรถแทน
ประเภท
ตู้สูตรซับวูเฟอร์ แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ ตู้ปิด ตู้เปิด และตู้แบนด์พาสส์ ซึ่งในแต่ละประเภทยังแยกย่อยออกไปอีก ทั้งนี้เพื่อให้เหมาะสมกับซับวูเฟอร์ และลักษณะ การทำงานที่ต่างกัน เพื่อให้ได้เสียงเบสส์ตามต้องการ ไม่ว่าจะเน้นความดัง นุ่มนวล หรือเค้นความถี่เสียงเบสส์ในช่วงต่างๆ
ตู้ปิด (SEALED) เป็นตู้ประเภทที่ไม่มีช่องสำหรับอากาศเข้า/ออก ติดซับวูเฟอร์ที่ผนังตู้ ด้านนอก ไม่จำกัดว่าจะหันดอกซับเข้าหรือออก จำนวนดอกซับ และการออกแบบภายในตู้ การคำนวณปริมาตรตู้จะคิดเฉพาะภายในตู้ เป็นตู้ที่ได้รับความนิยม การออกแบบ และสร้างขึ้นจะง่าย มีขนาดไม่ใหญ่มาก ลักษณะของเสียงเบสส์จะเป็นลูก มีเนื้อหาครบ
ตู้เปิด (PORTED) เป็นตู้ประเภทที่มีช่องอากาศสำหรับเข้า/ออกระหว่างผนังตู้ โดยส่วนมากจะใช้ท่อสำหรับทำช่อง ดอกซับจะติดตั้งที่ผนังตู้ด้านนอก ไม่จำกัดว่าจะหัน ดอกซับเข้าหรือออก จำนวนดอกซับ และการออกแบบภายในตู้ การคำนวณนอกจาก ปริมาตรภายในตู้แล้ว ยังต้องคำนวณรัศมี และความยาวของท่อร่วมด้วย เป็นตู้ที่ต้อง ออกแบบตามสูตร หรือคู่มือของซับวูเฟอร์ ได้รับความนิยมในนักเล่นเครื่องเสียงที่ต้องการ ตีแผงซาวน์ดโชว์ ส่วนมากมีขนาดใหญ่กว่าตู้ปิด ลักษณะของเสียงเบสส์เค้นความนุ่มลึก และหนักหน่วงได้มากขึ้น
ตู้แบนด์พาสส์ (BAND PASS) เป็นตู้ประเภทที่ออกแบบติดตั้งซับวูเฟอร์ไว้ภายใน โดยติดตั้งกับผนังตู้ด้านในที่กั้นระหว่างกัน ภายในตู้จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ไม่จำกัดการ ติดตั้งดอกซับ จำนวน และการออกแบบ มีช่องอากาศสำหรับเข้า/ออกระหว่างผนังตู้ ด้านนอก การคำนวณปริมาตรตู้ จะต้องคำนวณทั้ง 2 ส่วน และคำนวณรัศมี และความยาว ของท่อร่วมด้วย เป็นตู้ที่ต้องออกแบบตามสูตร หรือคู่มือของซับวูเฟอร์ จะได้รับความนิยม กับนักเล่นเครื่องเสียงที่ต้องการตีแผงซาวน์ดโชว์ มีขนาดใหญ่ ให้เสียงเบสส์นุ่มลึก สามารถออกแบบให้เน้นช่วงความถี่เสียงเบสส์ที่ต้องการได้
นอกจากนั้นแล้ว ตู้ที่มีท่อ สามารถเว้นช่องสำหรับอากาศไหลเข้า/ออกแทนท่อได้ ซึ่งจะเรียกว่าตู้เปิด (VENTED) จะให้ลักษณะของเสียงเบสส์ที่แตกต่างไปจากตู้เปิด (PORTED)
วัสดุต่างๆ
การทำตู้ซับวูเฟอร์ เดิมทีจะใช้เฉพาะไม้ ซึ่งไม่จำกัด แต่มาในระยะหลัง จะมีไม้อัดที่ทำ ออกมาเฉพาะ และนิยมนำมาทำตู้ซับวูเฟอร์ภายในรถ คือไม้ MDF (MEDIUM DENSITY FIBERBOARD) มีความหนา 3/4" ความกว้างxยาว เท่ากับไม้อัดทั่วไป ข้อดีคือ ให้เสียงเบสส์นุ่มลึก มีเนื้อหา ราคาไม่สูงมาก การนำมาทำตู้สะดวกและง่าย ข้อเสียคือ การออกแบบให้เข้ารูป และโค้งมนจะทำได้ยาก
แผ่น PLEXIGLASS วัสดุใสเหมือนพลาสติค และแผ่นอครีลิคใส เป็นวัสดุอีกประเภท ที่นิยมนำมาทำผนังตู้ โดยเฉพาะตู้เปิด และแบนด์พาสส์ ข้อดีคือ นอกจากจะเค้นเสียงเบสส์ ได้แล้ว ยังได้ความสวยงาม ข้อเสียคือ การออกแบบให้เข้ารูป โค้งมน จะทำได้ยาก
FRP หรือ GRP (FIBER GLASS REINFORCED PLASTICS) ที่เราเรียกกันว่า ไฟเบอร์ หรือไฟเบอร์กลาสส์นั่นเอง เป็นวัสดุที่กำลังได้รับความนิยม โดยเฉพาะตู้สูตรสำเร็จ เป็นส่วนผสมระหว่างใยแก้ว (FIBER GLASS) ที่มีลักษณะนุ่มเหนียว กับสารเคมีประเภท POLYESTER RESIN หรือ EPOXY RESIN และตัวเร่งปฏิกริยา ACCELETATOR และตัวทำให้แข็ง CATALYST ซึ่งเป็นสารเคมีมีให้เลือกหลายชนิด ข้อดีคือ ขึ้นรูปได้ หลากหลายตามต้องการ ไม่จำกัดรูปแบบ มีความแข็งแรงทนทาน และทำสีให้สวยงามได้ ข้อเสียคือ ขั้นตอนการทำยุ่งยาก ต้องระมัดระวังสารเคมี
โลหะ เช่น แผ่นเหล็ก อลูมิเนียม สำหรับเดโมคาร์หลายๆ คัน เน้นรูปแบบความแตกต่าง ด้วยงานโลหะ อาทิ การนำแผ่นเหล็กปูพื้นโรงงานที่มีลายนูนกันลื่น หรือแผ่นอลูมิเนียม หรือโลหะชุบโครเมียมมันวาวมาตกแต่ง และร่วมออกแบบเป็นผนังตู้ ข้อดีคือ แข็งแรง สวยงามโดดเด่นแปลกตา ข้อเสียคือ มีน้ำหนักมาก การทำยุ่งยาก และอาจเป็นสนิม
เครื่องมือ/อุปกรณ์
ในการทำตู้ซับวูเฟอร์ ต้องมีเครื่องมือเฉพาะ ขึ้นอยู่กับประเภทของวัสดุ เช่น งานไม้ก็ต้อง เลือกเครื่องมือสำหรับไม้ งานโลหะต้องเลือกเครื่องมือสำหรับโลหะ หลักๆ จะมี เลื่อยวงเดือน หรือโต๊ะเลื่อย สำหรับตัดชิ้นงานให้ตรง และได้มุมตามต้องการ เลื่อยจิกซอว์สำหรับตัดชิ้นงานในแนวโค้ง หรือวงกลม นอกจากนั้นก็มี สว่านไฟฟ้าสำหรับเจาะชิ้นงาน ไขควงไฟฟ้า ไม้บรรทัด วงเวียน ดินสอ ถ้าเป็นชิ้นงานที่ต้องทำแบบก่อน จะต้องมี กระดาษแข็ง เทป คัทเตอร์ และกรรไกร เพิ่มเติม
วัสดุ และอุปกรณ์ประกอบตู้ ซึ่งจะเป็นขั้นตอนหลังจากที่ได้ชิ้นงานที่จะนำมาประกอบครบ ทุกชิ้นแล้ว ประกอบด้วย กาวติดไม้ นอท ปืนกาว กาวยาง ขั้วต่อสาย สายลำโพง กรณีที่เป็น ตู้เปิด และแบนด์พาสส์ ต้องเตรียมท่อพีวีซี ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวตามสเปค
อุปกรณ์ตกแต่ง จะใช้ในขั้นตอนหลังจากที่ประกอบตู้ซับเสร็จแล้ว อาทิ พรม ไวนิล หนัง หรือสีพ่นชิ้นงาน ขึ้นอยู่กับความกลมกลืน หรือโดดเด่นสวยงาม นอกจากนั้นยังมีหัวนอท หลอดไฟเพื่อความสวยงามขณะขับเล่น ขึ้นอยู่กับความชอบครับ
และสิ่งสำคัญที่ขาดไม่ได้ คือ อุปกรณ์เสริมเสียง หรือใยแก้ว ซึ่งจะช่วยให้เสียงเบสส์มีเนื้อหา เป็นลูก มีความนุ่มนวลมากขึ้น ไม่แข็งกระด้าง หรือโปร่ง แต่ในกรณีที่เน้นความสวยงาม กับตู้เปิด หรือแบนด์พาสส์ที่ใช้ผนังใส อาจจะไม่เห็นวัสดุซับเสียงนี้ ซึ่งต้องคำนวณตู้ โดยเฉพาะ และปรับทูนเสียงเบสส์ให้ลงตัว
การออกแบบ
ในการออกแบบตู้ซับ ถ้าเป็นตู้แบบสี่เหลี่ยมทั่วไป สามารถวัดขนาด และสร้างชิ้นงานได้เลย แต่ถ้าเป็นตู้เข้ามุม ควรทำแบบด้วยกระดาษแข็งก่อน แล้วลองนำไปติดตั้งในตำแหน่ง ที่ต้องการว่าพอดีหรือเปล่า เพราะหากประกอบขึ้นแล้ว อาจแก้ไขได้ยาก
สิ่งที่ต้องคำนึงถึง คือ ซับวูเฟอร์ที่มีอยู่ ซึ่งส่วนมากจะให้สเปคในการตีตู้มาให้ด้วย โดยจะ กำหนดปริมาตร ขนาดท่อ และระดับความดังที่เค้นได้ DB ตรงส่วนนี้คุณจะได้ปริมาตรตู้ แต่ละประเภทรัศมี และความยาวของท่อ สำหรับตัวซับวูเฟอร์ จะได้เส้นผ่าศูนย์กลาง ขอบด้านใน และความลึก ซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่จะนำมาออกแบบ
จากนั้นให้กำหนดประเภทของตู้ที่ต้องการ โดยเน้นถึงคุณภาพเสียง และความลงตัว เป็นสำคัญ นั่นหมายถึง สภาพห้องโดยสาร ตำแหน่ง และพื้นที่การติดตั้ง รวมถึงทิศทาง ของหน้าดอกซับ ว่าจะกำหนดให้หันไปทางไหน เมื่อนำทุกอย่างมาพิจารณาร่วมกัน ก็จะได้ตู้ซับที่เหมาะสมกับระบบในรถคันนั้น ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว
การคำนวณปริมาตร
ตู้ซับวูเฟอร์ที่ได้รับความนิยมและตีง่าย เป็นรูปทรงสี่เหลี่ยม ซึ่งมีสูตรการคำนวณปริมาตร ไม่ยาก นอกจากนั้นยังมีตู้ซับในทรงเรขาคณิตอื่นๆ ซึ่งมีสูตรการคำนวณแตกต่างกันไป ดังนี้
B1 ปริมาตรสี่เหลี่ยม (RECTANGLE) = กว้างxสูงxลึก
B2 ปริมาตรสามเหลี่ยม (TRIANGLE) = 0.5xสูงxกว้างxลึก B3 ปริมาตรท่อ (CYLINDER) = 3.14xรัศมีxรัศมีxความลึก
B4 ปริมาตรสี่เหลี่ยมคางหมู (WEDGE) = ความกว้างด้านบน+ด้านล่าง/2xสูงxลึก
ส่วนตู้ที่มีรูปทรงอิสระ การคำนวณค่อนข้างจะยาก ซึ่งหากวัด และคำนวณอย่างละเอียด หรือใช้การแทนที่ ก็ยังได้ปริมาตรไม่แน่นอน การแก้ไขสามารถทำได้ โดยการใส่ใยแก้ว มากเป็นพิเศษ ซับวูเฟอร์ก็จะทำงานได้ดีขึ้น แต่ไม่แนะนำกับตู้ที่คำนวณปริมาตรได้
สำหรับการคำนวณอย่างละเอียด จะต้องตัดความหนาของไม้ออกด้วย โดยไม้ MDF จะมีความหนา 3/4" เมื่อหักทั้ง 2 ด้าน จะเท่ากับ 1 1/2" ยกตัวอย่างตู้ปริมาตร 1.0 ลูกบาศก์ฟุต ไม้มีความยาวด้านละ 12" เมื่อตีตู้ขึ้นไม้จะซ้อนกัน 2 ด้าน ทำให้เสีย ความยาวไป 1 1/2" คุณจะได้ปริมาตรตู้เพียง 12"x12"x(12"-1 1/2") ประมาณ 0.96 ลูกบาศก์ฟุต
อีกเรื่องที่สำคัญคือ การเปลี่ยนค่า หรือแทนค่าตัวเลข โดยปริมาตร 1.0 ลูกบาศก์ฟุต = 12"x12"x12" = 1,728 ลูกบาศก์นิ้ว หรือ 30x30x30 ซม. = 27,000 ลูกบาศก์ซม. ดังนั้นเมื่อคุณออกแบบตู้ และคำนวณได้ความยาวของผนังแต่ละด้าน การหาปริมาตรตู้ ว่ากี่ลูกบาศก์ฟุต ทำได้โดยการนำค่าตัวเลขทั้ง 2 หน่วยมาหาร โดยต้องเป็นหน่วยเดียวกัน เช่น ผนังตู้ 5"x9"x12" จะได้ปริมาตร 540 ลูกบาศก์นิ้ว ก็จะเท่ากับ 540/1,728 = 0.31 ลูกบาศก์ฟุต ผนังตู้ 15x20x25 ซม. จะได้ปริมาตร 7,500 ลูกบาศก์ซม. ก็จะเท่ากับ 7,500/27,000 = 0.28 ลูกบาศก์ฟุต
สร้างชิ้นงานด้วยตัวเอง
การตีตู้ด้วยตัวเอง ผมแนะนำให้เริ่มจากการตีตู้ปิดทรงสี่เหลี่ยมธรรมดา เพราะทำง่าย และการคำนวณไม่ยาก ขั้นแรกคือ การออกแบบ โดยต้องคำนึงถึงขนาดของซับวูเฟอร์ หลังจากปริมาตรที่ต้องการ ให้วัดค่าเส้นผ่าศูนย์กลางของขอบซับด้านใน ซึ่งเป็นส่วนที่ ต้องวางบนผนังตู้ และยึดนอท ควรให้ความยาวของผนังด้านนี้ *งจากขอบซับด้านนอก อย่างน้อยด้านละ 1" จากนั้นให้วัดความลึก จากขอบด้านบนสุดถึงท้ายแม่เหล็ก และผนังตู้ ด้านล่างควร*งจากท้ายแม่เหล็กอย่างน้อย 2" จากนั้นให้หาตำแหน่งติดตั้ง ซึ่งหากไม่ เข้ามุมก็ตีเป็นตู้สี่เหลี่ยมธรรมดาได้เลย แต่ถ้าเข้ามุมจะต้องตีเป็นตู้ทรงสี่เหลี่ยมคางหมู สำหรับการวางหน้าซับ จะหันไปทางไหนก็ได้ไม่จำกัด ที่สำคัญไม่ควรหันไปทางมุมอับ หรือทำให้กรวย และเซอร์ราวน์ดเสียหาย
เมื่อคุณได้ปริมาตร และความยาวของไม้แต่ละด้าน ก็ลงมือเลื่อยได้เลย ตอนนี้ต้องเริ่มระวัง เรื่องอุบัติเหตุ ! โดยการเลื่อยไม้ตรงๆ ยาวๆ ควรใช้เลื่อยวงเดือน หรือโต๊ะเลื่อย จะตรง และเข้ามุมได้พอดี แต่ไม่มีจริงๆ ใช้เลื่อยจิกซอว์ก็ไม่ว่ากัน ส่วนด้านที่ใส่ซับให้ตัดด้วย เลื่อยจิกซอว์ ดังนั้นคุณจะได้ชิ้นงาน 6 แผ่น ด้านล่าง 1 แผ่น ด้านบนที่เจาะช่องวงกลม 1 แผ่น และด้านข้างอีก 4 แผ่น
การประกอบตู้ให้ทากาวติดไม้ หรือกาวลาเทกซ์ที่หน้าไม้ก่อน จากนั้นยึดด้วยนอทที่มี ความยาวกินเข้าไปในไม้อีกแผ่นไม่ต่ำกว่า 1/2" อย่างน้อย 3 ตัว ให้ระวังไม่ฉีกแตก หรือหากมีเครื่องยิงตะปูก็ใช้ได้เพื่อความสะดวก แต่ควรยึดนอทอีกด้านละ 2 ตัว จากนั้น ให้ยาแนวทั้งหมดด้วยปืนกาว หรือจะใช้ขี้เลื่อยผสมกาวลาเทกซ์ก็ได้ รวมถึงอุดรอยรั่ว และแนวที่ไม่เสมอกัน ทั้งด้านในและด้านนอก หากคุณจะใส่ขั้วลำโพง ให้เจาะไม้ใน ขั้นตอนนี้ได้เลย
ต่อไปเป็นการตกแต่ง เตรียมวัสดุที่ต้องการหุ้ม ตัดขนาดตามความยาวของผนังตู้ โดยจะหุ้ม จากขอบท้ายตู้ก่อน ทากาวยางที่ผนังตู้ และชิ้นงาน รอให้แห้งหมาดๆ จากนั้น หุ้มและดึง ให้ตึง ใช้ไม้แบนๆ ตบไล่ ให้ทากาวหุ้มไปจนครบ 4 ด้าน คลุมช่องซับไปเลย ก็จะมาชนกับ ขอบเดิม ปล่อยชายทิ้งไว้ จากนั้นใช้คัทเตอร์ตัดและใช้ไม้ตบให้เนียนเป็นเนื้อเดียวกัน สำหรับช่องซับให้ใช้คัทเตอร์ตัดเช่นกัน ทากาวหุ้มอีก 2 ด้านที่เหลือ โดยปล่อยชายเอา คัทเตอร์ตัด และใช้ไม้ตบให้เนียนเข้ากัน ในกรณีเป็นหนังหรือไวนิล ควรใช้ลูกกลิ้งแทนไม้
ต่อจากนั้นให้นำซับมาวาง และใช้สว่านไฟฟ้าเจาะรูใส่นอท หากไม่ใส่ขั้วลำโพงให้หา ตำแหน่งเจาะช่องร้อยสายในขั้นตอนนี้ จากนั้นจึงเดินสายลำโพง อัดใยแก้วประมาณ 50-80 % และใส่ซับยึดนอทได้ นำตู้ซับไปวางในตำแหน่งที่ต้องการ และปรับทูนเสียงเบสส์ ตามต้องการ
สรุป
การออกแบบตู้ซับเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน แต่การทำตู้เองก็เป็นเรื่องที่สนุก ที่สำคัญจะต้อง ได้เสียงเบสส์ที่กลมกลืนสมจริง และติดตั้งในรถได้อย่างลงตัว สำหรับนักเล่นที่อยากลอง ตีตู้เอง ผมเอาใจช่วยให้ได้เสียงเบสส์ตามต้องการครับ
:21-7::21-7::21-7: ตามนั้นเลยครับ ตู้ตีเองไม่จำเป็นต้องสเป็คตรงเป๊ะๆหรอกครับ เอาให้ใกล้เคียงที่สุดก็ได้ครับ ขนาดร้านบางร้านตีตู้ออกมายังไม่ตรงกับสเป๊คของซับเลยครับ เพราะพื้นที่ในรถไทรทันของเรามันไม่ค่อยเอื้ออำนวย
วัสดุต่างๆ และการคำนวณปริมาตร
ตู้ซับวูเฟอร์ (ENCLOSURE) เป็นปัจจัยสำคัญที่อยู่คู่กับซับวูเฟอร์ และเสียงเบสส์ โดยเฉพาะในรถยนต์ การตีตู้ยังคงได้รับความนิยมอยู่ แม้ว่าผู้ที่ชื่นชอบเครื่องเสียงหลายๆ คน ไม่ต้องการให้เสียเนื้อที่ในรถก็ตาม ซึ่งในจุดนี้มีตู้สูตรสำเร็จแบบต่างๆ มาเพิ่ม เสียงเบสส์ให้กับระบบในรถแทน
ประเภท
ตู้สูตรซับวูเฟอร์ แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ ตู้ปิด ตู้เปิด และตู้แบนด์พาสส์ ซึ่งในแต่ละประเภทยังแยกย่อยออกไปอีก ทั้งนี้เพื่อให้เหมาะสมกับซับวูเฟอร์ และลักษณะ การทำงานที่ต่างกัน เพื่อให้ได้เสียงเบสส์ตามต้องการ ไม่ว่าจะเน้นความดัง นุ่มนวล หรือเค้นความถี่เสียงเบสส์ในช่วงต่างๆ
ตู้ปิด (SEALED) เป็นตู้ประเภทที่ไม่มีช่องสำหรับอากาศเข้า/ออก ติดซับวูเฟอร์ที่ผนังตู้ ด้านนอก ไม่จำกัดว่าจะหันดอกซับเข้าหรือออก จำนวนดอกซับ และการออกแบบภายในตู้ การคำนวณปริมาตรตู้จะคิดเฉพาะภายในตู้ เป็นตู้ที่ได้รับความนิยม การออกแบบ และสร้างขึ้นจะง่าย มีขนาดไม่ใหญ่มาก ลักษณะของเสียงเบสส์จะเป็นลูก มีเนื้อหาครบ
ตู้เปิด (PORTED) เป็นตู้ประเภทที่มีช่องอากาศสำหรับเข้า/ออกระหว่างผนังตู้ โดยส่วนมากจะใช้ท่อสำหรับทำช่อง ดอกซับจะติดตั้งที่ผนังตู้ด้านนอก ไม่จำกัดว่าจะหัน ดอกซับเข้าหรือออก จำนวนดอกซับ และการออกแบบภายในตู้ การคำนวณนอกจาก ปริมาตรภายในตู้แล้ว ยังต้องคำนวณรัศมี และความยาวของท่อร่วมด้วย เป็นตู้ที่ต้อง ออกแบบตามสูตร หรือคู่มือของซับวูเฟอร์ ได้รับความนิยมในนักเล่นเครื่องเสียงที่ต้องการ ตีแผงซาวน์ดโชว์ ส่วนมากมีขนาดใหญ่กว่าตู้ปิด ลักษณะของเสียงเบสส์เค้นความนุ่มลึก และหนักหน่วงได้มากขึ้น
ตู้แบนด์พาสส์ (BAND PASS) เป็นตู้ประเภทที่ออกแบบติดตั้งซับวูเฟอร์ไว้ภายใน โดยติดตั้งกับผนังตู้ด้านในที่กั้นระหว่างกัน ภายในตู้จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ไม่จำกัดการ ติดตั้งดอกซับ จำนวน และการออกแบบ มีช่องอากาศสำหรับเข้า/ออกระหว่างผนังตู้ ด้านนอก การคำนวณปริมาตรตู้ จะต้องคำนวณทั้ง 2 ส่วน และคำนวณรัศมี และความยาว ของท่อร่วมด้วย เป็นตู้ที่ต้องออกแบบตามสูตร หรือคู่มือของซับวูเฟอร์ จะได้รับความนิยม กับนักเล่นเครื่องเสียงที่ต้องการตีแผงซาวน์ดโชว์ มีขนาดใหญ่ ให้เสียงเบสส์นุ่มลึก สามารถออกแบบให้เน้นช่วงความถี่เสียงเบสส์ที่ต้องการได้
นอกจากนั้นแล้ว ตู้ที่มีท่อ สามารถเว้นช่องสำหรับอากาศไหลเข้า/ออกแทนท่อได้ ซึ่งจะเรียกว่าตู้เปิด (VENTED) จะให้ลักษณะของเสียงเบสส์ที่แตกต่างไปจากตู้เปิด (PORTED)
วัสดุต่างๆ
การทำตู้ซับวูเฟอร์ เดิมทีจะใช้เฉพาะไม้ ซึ่งไม่จำกัด แต่มาในระยะหลัง จะมีไม้อัดที่ทำ ออกมาเฉพาะ และนิยมนำมาทำตู้ซับวูเฟอร์ภายในรถ คือไม้ MDF (MEDIUM DENSITY FIBERBOARD) มีความหนา 3/4" ความกว้างxยาว เท่ากับไม้อัดทั่วไป ข้อดีคือ ให้เสียงเบสส์นุ่มลึก มีเนื้อหา ราคาไม่สูงมาก การนำมาทำตู้สะดวกและง่าย ข้อเสียคือ การออกแบบให้เข้ารูป และโค้งมนจะทำได้ยาก
แผ่น PLEXIGLASS วัสดุใสเหมือนพลาสติค และแผ่นอครีลิคใส เป็นวัสดุอีกประเภท ที่นิยมนำมาทำผนังตู้ โดยเฉพาะตู้เปิด และแบนด์พาสส์ ข้อดีคือ นอกจากจะเค้นเสียงเบสส์ ได้แล้ว ยังได้ความสวยงาม ข้อเสียคือ การออกแบบให้เข้ารูป โค้งมน จะทำได้ยาก
FRP หรือ GRP (FIBER GLASS REINFORCED PLASTICS) ที่เราเรียกกันว่า ไฟเบอร์ หรือไฟเบอร์กลาสส์นั่นเอง เป็นวัสดุที่กำลังได้รับความนิยม โดยเฉพาะตู้สูตรสำเร็จ เป็นส่วนผสมระหว่างใยแก้ว (FIBER GLASS) ที่มีลักษณะนุ่มเหนียว กับสารเคมีประเภท POLYESTER RESIN หรือ EPOXY RESIN และตัวเร่งปฏิกริยา ACCELETATOR และตัวทำให้แข็ง CATALYST ซึ่งเป็นสารเคมีมีให้เลือกหลายชนิด ข้อดีคือ ขึ้นรูปได้ หลากหลายตามต้องการ ไม่จำกัดรูปแบบ มีความแข็งแรงทนทาน และทำสีให้สวยงามได้ ข้อเสียคือ ขั้นตอนการทำยุ่งยาก ต้องระมัดระวังสารเคมี
โลหะ เช่น แผ่นเหล็ก อลูมิเนียม สำหรับเดโมคาร์หลายๆ คัน เน้นรูปแบบความแตกต่าง ด้วยงานโลหะ อาทิ การนำแผ่นเหล็กปูพื้นโรงงานที่มีลายนูนกันลื่น หรือแผ่นอลูมิเนียม หรือโลหะชุบโครเมียมมันวาวมาตกแต่ง และร่วมออกแบบเป็นผนังตู้ ข้อดีคือ แข็งแรง สวยงามโดดเด่นแปลกตา ข้อเสียคือ มีน้ำหนักมาก การทำยุ่งยาก และอาจเป็นสนิม
เครื่องมือ/อุปกรณ์
ในการทำตู้ซับวูเฟอร์ ต้องมีเครื่องมือเฉพาะ ขึ้นอยู่กับประเภทของวัสดุ เช่น งานไม้ก็ต้อง เลือกเครื่องมือสำหรับไม้ งานโลหะต้องเลือกเครื่องมือสำหรับโลหะ หลักๆ จะมี เลื่อยวงเดือน หรือโต๊ะเลื่อย สำหรับตัดชิ้นงานให้ตรง และได้มุมตามต้องการ เลื่อยจิกซอว์สำหรับตัดชิ้นงานในแนวโค้ง หรือวงกลม นอกจากนั้นก็มี สว่านไฟฟ้าสำหรับเจาะชิ้นงาน ไขควงไฟฟ้า ไม้บรรทัด วงเวียน ดินสอ ถ้าเป็นชิ้นงานที่ต้องทำแบบก่อน จะต้องมี กระดาษแข็ง เทป คัทเตอร์ และกรรไกร เพิ่มเติม
วัสดุ และอุปกรณ์ประกอบตู้ ซึ่งจะเป็นขั้นตอนหลังจากที่ได้ชิ้นงานที่จะนำมาประกอบครบ ทุกชิ้นแล้ว ประกอบด้วย กาวติดไม้ นอท ปืนกาว กาวยาง ขั้วต่อสาย สายลำโพง กรณีที่เป็น ตู้เปิด และแบนด์พาสส์ ต้องเตรียมท่อพีวีซี ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวตามสเปค
อุปกรณ์ตกแต่ง จะใช้ในขั้นตอนหลังจากที่ประกอบตู้ซับเสร็จแล้ว อาทิ พรม ไวนิล หนัง หรือสีพ่นชิ้นงาน ขึ้นอยู่กับความกลมกลืน หรือโดดเด่นสวยงาม นอกจากนั้นยังมีหัวนอท หลอดไฟเพื่อความสวยงามขณะขับเล่น ขึ้นอยู่กับความชอบครับ
และสิ่งสำคัญที่ขาดไม่ได้ คือ อุปกรณ์เสริมเสียง หรือใยแก้ว ซึ่งจะช่วยให้เสียงเบสส์มีเนื้อหา เป็นลูก มีความนุ่มนวลมากขึ้น ไม่แข็งกระด้าง หรือโปร่ง แต่ในกรณีที่เน้นความสวยงาม กับตู้เปิด หรือแบนด์พาสส์ที่ใช้ผนังใส อาจจะไม่เห็นวัสดุซับเสียงนี้ ซึ่งต้องคำนวณตู้ โดยเฉพาะ และปรับทูนเสียงเบสส์ให้ลงตัว
การออกแบบ
ในการออกแบบตู้ซับ ถ้าเป็นตู้แบบสี่เหลี่ยมทั่วไป สามารถวัดขนาด และสร้างชิ้นงานได้เลย แต่ถ้าเป็นตู้เข้ามุม ควรทำแบบด้วยกระดาษแข็งก่อน แล้วลองนำไปติดตั้งในตำแหน่ง ที่ต้องการว่าพอดีหรือเปล่า เพราะหากประกอบขึ้นแล้ว อาจแก้ไขได้ยาก
สิ่งที่ต้องคำนึงถึง คือ ซับวูเฟอร์ที่มีอยู่ ซึ่งส่วนมากจะให้สเปคในการตีตู้มาให้ด้วย โดยจะ กำหนดปริมาตร ขนาดท่อ และระดับความดังที่เค้นได้ DB ตรงส่วนนี้คุณจะได้ปริมาตรตู้ แต่ละประเภทรัศมี และความยาวของท่อ สำหรับตัวซับวูเฟอร์ จะได้เส้นผ่าศูนย์กลาง ขอบด้านใน และความลึก ซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่จะนำมาออกแบบ
จากนั้นให้กำหนดประเภทของตู้ที่ต้องการ โดยเน้นถึงคุณภาพเสียง และความลงตัว เป็นสำคัญ นั่นหมายถึง สภาพห้องโดยสาร ตำแหน่ง และพื้นที่การติดตั้ง รวมถึงทิศทาง ของหน้าดอกซับ ว่าจะกำหนดให้หันไปทางไหน เมื่อนำทุกอย่างมาพิจารณาร่วมกัน ก็จะได้ตู้ซับที่เหมาะสมกับระบบในรถคันนั้น ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว
การคำนวณปริมาตร
ตู้ซับวูเฟอร์ที่ได้รับความนิยมและตีง่าย เป็นรูปทรงสี่เหลี่ยม ซึ่งมีสูตรการคำนวณปริมาตร ไม่ยาก นอกจากนั้นยังมีตู้ซับในทรงเรขาคณิตอื่นๆ ซึ่งมีสูตรการคำนวณแตกต่างกันไป ดังนี้
B1 ปริมาตรสี่เหลี่ยม (RECTANGLE) = กว้างxสูงxลึก
B2 ปริมาตรสามเหลี่ยม (TRIANGLE) = 0.5xสูงxกว้างxลึก B3 ปริมาตรท่อ (CYLINDER) = 3.14xรัศมีxรัศมีxความลึก
B4 ปริมาตรสี่เหลี่ยมคางหมู (WEDGE) = ความกว้างด้านบน+ด้านล่าง/2xสูงxลึก
ส่วนตู้ที่มีรูปทรงอิสระ การคำนวณค่อนข้างจะยาก ซึ่งหากวัด และคำนวณอย่างละเอียด หรือใช้การแทนที่ ก็ยังได้ปริมาตรไม่แน่นอน การแก้ไขสามารถทำได้ โดยการใส่ใยแก้ว มากเป็นพิเศษ ซับวูเฟอร์ก็จะทำงานได้ดีขึ้น แต่ไม่แนะนำกับตู้ที่คำนวณปริมาตรได้
สำหรับการคำนวณอย่างละเอียด จะต้องตัดความหนาของไม้ออกด้วย โดยไม้ MDF จะมีความหนา 3/4" เมื่อหักทั้ง 2 ด้าน จะเท่ากับ 1 1/2" ยกตัวอย่างตู้ปริมาตร 1.0 ลูกบาศก์ฟุต ไม้มีความยาวด้านละ 12" เมื่อตีตู้ขึ้นไม้จะซ้อนกัน 2 ด้าน ทำให้เสีย ความยาวไป 1 1/2" คุณจะได้ปริมาตรตู้เพียง 12"x12"x(12"-1 1/2") ประมาณ 0.96 ลูกบาศก์ฟุต
อีกเรื่องที่สำคัญคือ การเปลี่ยนค่า หรือแทนค่าตัวเลข โดยปริมาตร 1.0 ลูกบาศก์ฟุต = 12"x12"x12" = 1,728 ลูกบาศก์นิ้ว หรือ 30x30x30 ซม. = 27,000 ลูกบาศก์ซม. ดังนั้นเมื่อคุณออกแบบตู้ และคำนวณได้ความยาวของผนังแต่ละด้าน การหาปริมาตรตู้ ว่ากี่ลูกบาศก์ฟุต ทำได้โดยการนำค่าตัวเลขทั้ง 2 หน่วยมาหาร โดยต้องเป็นหน่วยเดียวกัน เช่น ผนังตู้ 5"x9"x12" จะได้ปริมาตร 540 ลูกบาศก์นิ้ว ก็จะเท่ากับ 540/1,728 = 0.31 ลูกบาศก์ฟุต ผนังตู้ 15x20x25 ซม. จะได้ปริมาตร 7,500 ลูกบาศก์ซม. ก็จะเท่ากับ 7,500/27,000 = 0.28 ลูกบาศก์ฟุต
สร้างชิ้นงานด้วยตัวเอง
การตีตู้ด้วยตัวเอง ผมแนะนำให้เริ่มจากการตีตู้ปิดทรงสี่เหลี่ยมธรรมดา เพราะทำง่าย และการคำนวณไม่ยาก ขั้นแรกคือ การออกแบบ โดยต้องคำนึงถึงขนาดของซับวูเฟอร์ หลังจากปริมาตรที่ต้องการ ให้วัดค่าเส้นผ่าศูนย์กลางของขอบซับด้านใน ซึ่งเป็นส่วนที่ ต้องวางบนผนังตู้ และยึดนอท ควรให้ความยาวของผนังด้านนี้ *งจากขอบซับด้านนอก อย่างน้อยด้านละ 1" จากนั้นให้วัดความลึก จากขอบด้านบนสุดถึงท้ายแม่เหล็ก และผนังตู้ ด้านล่างควร*งจากท้ายแม่เหล็กอย่างน้อย 2" จากนั้นให้หาตำแหน่งติดตั้ง ซึ่งหากไม่ เข้ามุมก็ตีเป็นตู้สี่เหลี่ยมธรรมดาได้เลย แต่ถ้าเข้ามุมจะต้องตีเป็นตู้ทรงสี่เหลี่ยมคางหมู สำหรับการวางหน้าซับ จะหันไปทางไหนก็ได้ไม่จำกัด ที่สำคัญไม่ควรหันไปทางมุมอับ หรือทำให้กรวย และเซอร์ราวน์ดเสียหาย
เมื่อคุณได้ปริมาตร และความยาวของไม้แต่ละด้าน ก็ลงมือเลื่อยได้เลย ตอนนี้ต้องเริ่มระวัง เรื่องอุบัติเหตุ ! โดยการเลื่อยไม้ตรงๆ ยาวๆ ควรใช้เลื่อยวงเดือน หรือโต๊ะเลื่อย จะตรง และเข้ามุมได้พอดี แต่ไม่มีจริงๆ ใช้เลื่อยจิกซอว์ก็ไม่ว่ากัน ส่วนด้านที่ใส่ซับให้ตัดด้วย เลื่อยจิกซอว์ ดังนั้นคุณจะได้ชิ้นงาน 6 แผ่น ด้านล่าง 1 แผ่น ด้านบนที่เจาะช่องวงกลม 1 แผ่น และด้านข้างอีก 4 แผ่น
การประกอบตู้ให้ทากาวติดไม้ หรือกาวลาเทกซ์ที่หน้าไม้ก่อน จากนั้นยึดด้วยนอทที่มี ความยาวกินเข้าไปในไม้อีกแผ่นไม่ต่ำกว่า 1/2" อย่างน้อย 3 ตัว ให้ระวังไม่ฉีกแตก หรือหากมีเครื่องยิงตะปูก็ใช้ได้เพื่อความสะดวก แต่ควรยึดนอทอีกด้านละ 2 ตัว จากนั้น ให้ยาแนวทั้งหมดด้วยปืนกาว หรือจะใช้ขี้เลื่อยผสมกาวลาเทกซ์ก็ได้ รวมถึงอุดรอยรั่ว และแนวที่ไม่เสมอกัน ทั้งด้านในและด้านนอก หากคุณจะใส่ขั้วลำโพง ให้เจาะไม้ใน ขั้นตอนนี้ได้เลย
ต่อไปเป็นการตกแต่ง เตรียมวัสดุที่ต้องการหุ้ม ตัดขนาดตามความยาวของผนังตู้ โดยจะหุ้ม จากขอบท้ายตู้ก่อน ทากาวยางที่ผนังตู้ และชิ้นงาน รอให้แห้งหมาดๆ จากนั้น หุ้มและดึง ให้ตึง ใช้ไม้แบนๆ ตบไล่ ให้ทากาวหุ้มไปจนครบ 4 ด้าน คลุมช่องซับไปเลย ก็จะมาชนกับ ขอบเดิม ปล่อยชายทิ้งไว้ จากนั้นใช้คัทเตอร์ตัดและใช้ไม้ตบให้เนียนเป็นเนื้อเดียวกัน สำหรับช่องซับให้ใช้คัทเตอร์ตัดเช่นกัน ทากาวหุ้มอีก 2 ด้านที่เหลือ โดยปล่อยชายเอา คัทเตอร์ตัด และใช้ไม้ตบให้เนียนเข้ากัน ในกรณีเป็นหนังหรือไวนิล ควรใช้ลูกกลิ้งแทนไม้
ต่อจากนั้นให้นำซับมาวาง และใช้สว่านไฟฟ้าเจาะรูใส่นอท หากไม่ใส่ขั้วลำโพงให้หา ตำแหน่งเจาะช่องร้อยสายในขั้นตอนนี้ จากนั้นจึงเดินสายลำโพง อัดใยแก้วประมาณ 50-80 % และใส่ซับยึดนอทได้ นำตู้ซับไปวางในตำแหน่งที่ต้องการ และปรับทูนเสียงเบสส์ ตามต้องการ
สรุป
การออกแบบตู้ซับเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน แต่การทำตู้เองก็เป็นเรื่องที่สนุก ที่สำคัญจะต้อง ได้เสียงเบสส์ที่กลมกลืนสมจริง และติดตั้งในรถได้อย่างลงตัว สำหรับนักเล่นที่อยากลอง ตีตู้เอง ผมเอาใจช่วยให้ได้เสียงเบสส์ตามต้องการครับ
Oh! เป็นข้อแนะนำ และ แนวทางที่ดีมากเลยครับท่าน แล้วจะนำแนวทางนี้ไปใช้และพริกแพงออกมา
ขอบคุณมากเลยครับถ้าทำเสร็จแล้วจะเอาผลงานมาให้ดูครับ :kapook-17198-9597:
ไม่มีรูปประกอบหราคร้าบบบ จะได้เข้าใจยิ่งขึ้น ขอบคุณคร้าบบบบ ....:21-7::21-7::Banane35::1182438340:
MEAW_SAN
17-12-2010, 19:13
ไม่มีรูปประกอบหราคร้าบบบ จะได้เข้าใจยิ่งขึ้น ขอบคุณคร้าบบบบ ....:21-7::21-7::Banane35::1182438340:
เอาไปเกลอ
thitot_inkman@sanook.com
20-12-2010, 09:35
ขอยืมท่านเจ้าของรถ มาเป็นแนวทาง:emotion_066_kitty:
คนข้างหลังได้มีกระดูกเคลื่อนบ้างล่ะ งานนี้.......:kapook-17198-9597::kapook-17198-9597: สุดยอดคร้าบบบบบ
ก็ต้องยอมเสียพื้นที่และความสะดวกสบายเวลานั่งไปบ้าง แล้วเราก็ได้เสียงที่เราต้องการ แต่หากทำขนาดนี้แล้วยังไม่ถูกใจล่ะก้อ คิดอีกทีหาร้านที่มีมาตรฐานการติดตั้งจะคุ้มกว่า ไม่เน้นยี่ห้อหรือราคาสินค้าแพง ๆ ตามกระแส เอาหัวใจสำคัญคือการวางระบบดี ๆ ก่อนอุปกรณ์ดี ๆ ไว้ทีหลัง หรือถ้างบพร้อมทีเดียวจบ
ขับเคลื่อนระบบโดย vBulletin™ Version 4.2.5 Copyright © 2025 vBulletin Solutions, Inc. All rights reserved.